การที่จะทำธุรกิจใดก็ตามหากไม่รู้ลึกซึ้งถึงเนื้อหาสาระสำคัญของธุรกิจนั้นๆ “ก็เปรียบเสมือนการหลับตาเดิน แค่ออกก้าวก็ชนอุปสรรคขวากหนามเสียแล้ว”
ฉะนั้นขอให้ผู้สนใจธุรกิจอู่ซ่อมรถควรทำความเข้าใจในบทความนี้อย่างระเอียด
และอ่านดูให้ถี่ถ้วน
พิจารณาความชอบและความเหมาะสมของประเภทการให้บริการในอู่ซ่อมรถ
ก็จะเป็นการเริ่มต้นธุรกิจที่มีชัยชนะไปกว่าครึ่งแล้ว
1.ประเภทของร้านในการเปิดอู่ซ่อมรถ แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่
1.1ศูนย์บริการรูบแบบค่ายรถยนต์มีชื่อทั้งหลาย
อู่ซ่อมรถประเภทนี้จะเน้นในเรื่องของการซ่อมรถยนต์ในแบรนด์ของตนเอง ซึ่งจะเน้นที่การให้บริการหลังการขายเมื่อเวลาที่เราซื้อรถใหม่ป้ายแดงไป แล้ว แต่ราคาค่าบริการจะสูง อาจมีทั้งค่ายที่เป็นของรถยนต์เองและที่เป็นของเอกชนลงทุนแต่เฉพาะอู่รถยนต์ เช่น B-Quik(บี-ควิก) Bosch Car Service เป็นต้น
1.2อู่บริการทั่วไป
-มี ทั้งเป็นลักษณะการเปิดแบบใหญ่พื้นที่ให้บริการมาก ขนาด 200-500ตารางเมตร มีทั้งที่ให้บริการแก่บุคคลทั่วไป และที่รับซ่อมเฉพาะงานของบริษัทรับประกันทั้งหลาย
-อู่ ขนาดกลาง มีลักษณะเป็นร้านที่เป็นตึกแถว(อาคารพาณิชย์) ขนาด 2-4 คูหา ส่วนใหญ่จะเป็นร้านที่ให้บริการช่วงล่าง, จำพวก เบรค,ครัช,โช๊คอัพ,เปลี่ยนน้ำมันเครื่องและไส้กรอง
-อู่ ขนาดเล็ก ร้านขนาดแค่ที่ห้องเดียวที่อยู่ตามบ้าน หรือพื้นที่เปล่าที่ไปปลูกเพิงขนาดเล็กไว้ ให้บริการในกลุ่มคนที่รู้จักกัน
การเปิดอู่ซ่อมรถ ยังแบ่งได้จากการให้บริการรถยนต์
-อู่ที่ให้บริการแบบครบวงจร
-อู่ที่ให้บริการเฉพาะเครื่องยนต์
-อู่ที่ให้บริการแบบเฉพาะระบบไฟฟ้ารถยนต์
-อู่ที่ให้บริการแบบเฉพาะช่วงล่าง
และมีอู่หรืออาจเรียกว่าร้านที่ให้บริการซ่อมหรือเปลี่ยนเฉพาะบ้างส่วนของรถ ยนต์ เช่น อู่ร้านแอร์รถยนต์ อู่เช็คปั๊มหัวฉีด อู่ติดแก๊สรถยนต์ ร้านเปลี่ยนแบตเตอรี่ ร้านหม้อน้ำรถยนต์ ร้านไดนาโมและไดชาร์จ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นอู่ที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ แต่สำหรับในที่นี้จะกล่าวเฉพาะการเปิดอู่แบบที่ให้บริการช่วงล่าง,เครื่อง ยนต์เป็นหลัก 2.เรื่องการจดทะเบียนผู้ประกอบการ
2.1.การ จดทะเบียนการค้าหรือใบทะเบียนพาณิชย์ สามารถจดทะเบียนพาณิชย์ในรูปแบบ บุคคลธรรม(ชื่อ-สกุล) หรือนิติบุคคล(ห้างหุ้นส่วนจำกัด-บริษัท)
-เอกสารที่ต้องเตรียมเพื่อจดทะเบียนพาณิชย์
-สำเนาบัตรประชาชนของผู้ที่เป็นเจ้าของกิจการ
-สำเนาทะเบียนบ้านของผู้ที่เป็นเจ้าของกิจการ
กรณีที่เจ้าของกิจการอู่ซ่อมรถไม่ได้เป็นเจ้าบ้าน ต้องมีเอกสารประกอบดังนี้
-สำเนาบัตรประชาชนของผู้ที่เป็นเจ้าบ้าน
-สำเนาทะเบียนบ้านของผู้ที่เป็นเจ้าบ้าน
-หนังสือยินยอมการอาคารสถานที่เพื่อประกอบกิจการอู่ซ่อมรถจากเจ้าบ้าน
-สำเนาสัญญาเช่าอาคารหรือพื้นที่,หนังสือยินยอมให้ใช้เพื่อเปิดอู่ซ่อมรถลงชื่อผู้ให้เช่า
กรณีที่เป็นอาคารสร้างใหม่ ต้องเตรียมเอกสารดังต่อไปนี้ไปด้วย
-เตรียมใบขออนุญาตก่อสร้างอาคาร
สถานที่จดทะเบียนพาณิชย์ในการเปิดอู่ซ่อมรถ
กรุงเทพ
-กรมพัฒนาธุรกิจการค้า Website:http://www.dbd.go.th/ call center 1570
-จะมีสำนักงานธุรกิจการค้าแยกเป็นเขตที่ 1-6 ดูรายละเอียดที่ http://www.dbd.go.th/ewt_news.php?nid=48
-หรือไปที่สำนักงานเขตทั้ง 53 เขตก็ได้
ต่างจังหวัด
-ไปที่เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบลและสำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดตามแต่ละจังหวัด
-ต้องยื่นจดทะเบียนพาณิชย์ภายใน 30 วันนับตั้งแต่มีการเริ่มดำเนินกิจการ
-หากผู้ประกอบการไม่ทำการจดทะเบียน หรือแสดงรานการที่เป็นเท็จ มีโทษค่าปรับไม่เกิน 2,000บาท และหากไม่ทำการจดให้แล้วเสร็จปรับอีกไม่เกินวันละ 100บาท
-ค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนพาณิชย์เพื่อประกอบธุรกิจใหม่ 50บาท
3.เรื่องการขอใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ สำหรับธุรกิจ เปิดอู่ซ่อมรถ นั้นเป็นการทำกิจการที่ทำเกี่ยวกับ การซ่อมเครื่องรถยนต์,การประกอบ,การเคาะพ่นสี หรือการปะเชื่อมต่างๆ และรวมไปถึงการสะสมน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์นั้น กฎหมายด้านการสาธารณสุขถือว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพ บังคับให้ผู้ประกอบการต้องขอใบอนุญาตประกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
เอกสารที่ต้องเตรียม
-เตรียมใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร
-สำเนาทะเบียนบ้าน
-สำเนาบัตรประชาชน
-สำเนาใบทะเบียนพาณิชย์
-รูปถ่าย 1 นิ้ว 2 ใบ
-แบบแปลนภายในอู่ในส่วนพื้นที่การใช้งานของแต่ละส่วนการทำงาน
-แผนการจัดเก็บวัสดุใช้แล้วประเภทเป็นอันตราย
-ใบอนุญาตมีอายุ 1 ปี และต้องต่อทุกปี(ต้องต่อก่อนที่ใบอนุญาตจะหมดอายุ 30วัน)
สถานที่ไปขอใบอนุญาต
กรุงเทพมหานคร: ยื่นขอได้ที่สำนักงานเขตที่ตั้งสถานประกอบการ
ใน ต่างจังหวัด: ยื่นขอได้ที่ สำนักงานเทศบาล,สำนักงานสุขาภิบาล,องค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการขอใบอนุญาตการขอตั้งสถานประกอบการ
โดยมีค่าธรรมเนียมในแต่ละประเภทไม่เกิน 10,000บาท
4.การปิดป้ายแสดงราคาค่าบริการในเปิดอู่ซ่อมรถ
คณะ กรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการจากกระทรวงพาณิชย์ ได้ออกประกาศกำหนดให้แก่ธุรกิจบริการซ่อมรถนั้นต้องปิดป้ายแสดงราคาค่า บริการต่างๆให้เห็นชัดเจนในสถานที่ประกอบการ หากฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน_10,000บาท
5.รายละเอียดการลงทุนของการเปิดอู่ซ่อมรถ
จะมีค่าใช้จ่ายในการลงทุนเริ่มแรกแตกต่างกันไปตามแต่ขนาด และลักษณะในการเลือกการให้บริการของการเปิดอู่ซ่อมรถว่ามากน้อยเพียงไร
ข้อมูลโดยเฉลี่ยสำหรับเงินลงทุนเริ่มต้นของผู้เปิดอู่ซ่อมรถ มีดังนี้
-ส่วนที่1)เป็นค่าออกแบบตกแต่งอาคาร เฟอร์นิเจอร์สำนักงาน,เครื่องใช้และอุปกรณ์สำนักงาน 15%(ของเงินลงทุน)
-ส่วนที่2)เป็นค่าเครื่องมือช่างและอุปกรณ์อู่ซ่อม 11%(ของเงินลงทุน) ซึ่งจะมมีอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นดังนี้ แม่แรงขนาดใหญ่สำหรับยกเพื่อซ่อม เครื่องปั๊มลมสำหรับเครื่องมือช่างที่ใช้แรงอัด เครื่องเจียรแต่ง เครื่องชาร์ตแบตเตอรี่ ประแจและไขควงต่างๆ
-ส่วนที่3)เงินทุนหมุนเวียน 74%(ของเงินลงทุน) ส่วนใหญ่เป็นค่าอะไหล่ของรถยนต์ ค่าวัสดุสิ้นเปลือง ค่าใช้จ่ายประจำ,เงินเดือนพนักงาน ค่าน้ำประปาและค่าไฟฟ้า เป็นต้น
6.การบริหารจัดการภายในร้าน
ซึ่งในการที่จะ เปิดอู่ซ่อมรถ นั้นการบริหารจัดการภายในร้านเป็นเรื่องสำคัญควรมีการจัดระบบงานต่างแยกเป็น สัดส่วนให้ชัดเจน ซึ่งสามารถแยกเป็นส่วนๆได้ดังนี้
ด้านการบริหารการเงินและการบัญชี
จะเป็นส่วนที่รับผิดชอบเรื่องการเงินทั้งหมด การทำบัญชีทั้งในส่วนที่เป็นรายรับ(รายได้ค่าบริการในการซ่อม,รายได้จากการ ขายอะหลั๋ยรถยนต์),รายจ่าย(ค่าใช้จ่ายต่างๆทั้งหมด) ในการทำบัญชีต้องรับผิดชอบงานในส่วนเอกสารทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น,บัญชีรายรับ,บัญชีรายจ่าย,บัญชีสต๊อก,บัญชีการเสียภาษี, งานที่เป็นเอกสารต่างๆ เช่น การออกบิล,เอกสารรายได้ของพนักงานที่เป็นค่าล่วงเวลาหรือในการลาหยุด ทั้งหมดเป็นเรื่องของงานเอกสารที่ต้องมีการบันทึกเพื่อนำมาสรุป ยอดกระทบตัวเลขของแต่ละบัญชีให้ถูกต้อง
ในเรื่องของการทำบัญชีเป็นเรื่องที่ควารทำอย่างยิ่ง เพราะจะเป็นการตรวจสอบวัดผลกำไร-ขาดทุนของกิจการได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นความถูกต้องเพื่อนำเรียนกับเจ้าที่สรรพากรถึงผลกำไร-ขาด ทุนอย่างโปร่งใส หากกิจการมีกำไรก็เสียภาษีอย่างถูกต้องตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด หากยังขาดทุนอยู่ก็ไม่ต้องเสียภาษีว่ากันไปตามจริง
ในการทำบัญชียังสามารถทำในแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อง่ายต่อการทำงาน แต่ก็ควรมีผู้ชำนาญงานด้านคอมพิวเตอร์และการบัญชีควบคู่กันด้วย
ด้านการบริหารจัดการบุคคล
ในการ เปิดอู่ซ่อมรถ สามารถแบ่งงานบุคคลเป็น 5 กลุ่ม(คราวๆสำหรับกิจกรรมขนาดเล็ก)
-พนักงานผู้บริหาร(เจ้าของกิจการ)
เจ้าของกิจการรับผิดชอบภาพรวมทั้งหมด อีกทั้งต้องรับแรงกดดันทั้งหมดของทุกภาคส่วนของกิจการ ต้องมีความเข้าใจระบบงานทั้งหมดขององค์กร สามารถบริหารงานวางคน..วางงานให้ถูกที่ถูกจุดได้อย่างประสิทธิภาพสูงสุดใน การทำงาน
-พนักงานด้าการบัญชี
เป็นพนักงานที่ทำหน้าที่ควบคุมด้านบัญชีทั้งหมด จำนวนพนักงานมากน้อยขึ้นอยู่กับขนาดโครงสร้างของการเปิดอู่ซ่อมรถ
-พนักงานตอนรับลูกค้า
เจ้าหน้าที่ทำหน้าที่คอยตอนรับลูกค้าและดูแลลูกค้าระหว่างที่รถเข้ารับการ ซ่อมในอู่ซ่อมรถ ทำหน้าที่คอยประสานงานให้ลูกค้ารับข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับการซ่อมรถ ทำการนัดหมายเพื่อตรวจเช็ตรถในครั้งต่อไป อาจรวมไปถึงการแจ้งโปรโมชั่นต่างๆให้กับลูกค้าทราบ
-พนักงานช่างซ่อมบำรุง
เป็นพนักงานที่เชียวชาญด้านการซ่อมรถในแต่ละด้าน ที่ทางอู่เปิดให้บริการซ่อม มีทั้งระดับหัวหน้าช่าง,ผู้ช่วยช่าง จำนวนของพนักงานขึ้นอยู่กับจำนวนรถที่เข้ารับบริการในแต่ละวัน หนึ่งคน-สองคนต่อรถยนต์หนึ่งคัน
-พนักงานแม่บ้าน
เป็นพนักงานที่รับผิดชอบความเรียบร้อย,ด้านความสะอาด,การจัดเตรียมสิ่งอำนวย ความสะดวก,เครื่องดื่ม,อาหารว่าง รวมถึงงานของแม่บ้านทั้งหมดภายในอู่ จำนวนขึ้นอยู่กับขนาดของการเปิดอู่ซ่อมรถ
ด้านการบริหารคุณภาพการให้บริการ
เป็นหัวใจสำคัญของกิจการ เปิดอู่ซ่อมรถ เพราะกิจการมีสินค้าเป็นการให้บริการเป็นหลัก ความประทับใจของลูกค้าเท่านั้นที่จะทำให้กิจการอยู่รอดและสามารถแข่งขันใน ธุรกิจนี้ได้
-ควรกำหนดเป้าหมายของกิจการ เปิดอู่ซ่อมรถ ด้านคุณภาพการให้บริการให้ชัดเจน ตัวอย่างเช่น หน้าตาดี คำพูดดี จิตใจดี คุณภาพการซ่อมที่ดี กล่าวคือ หน้าตาดีคือมีใบหน้าที่ยิ้มแย้มแจ่มใสพร้อมที่จะให้บริการกับลูกค้าทุก เมื่อ คำพูดดีคือการพูดจาที่ไพเราะกับลูกค้าให้คำแนะนำข้อมูลกับลูกค้าเท่าที่ ลูกค้าต้องการ จิตใจดีคือมีหัวใจพร้อมในงานบริการหากไม่มีใจในการให้บริการลูกค้าแล้ว ทุกอย่างก็จะออกมาไม่ดี คุณภาพการซ่อมที่ดีคือทำงานด้วยงานที่เน้นคุณภาพการซ่อมทั้งเรื่องการซ่อม และสินค้าอะหลั่ยที่ใช้เปลี่ยน
-ประเมินพนักงาน
ควรมีระบบตรวจวัดผลของพนักงานทุกคนทุกฝ่ายว่าได้ทำงานเป็นไปตามเป้าหมายที่ กำหนดหรือไม่ ควรวัดออกมาเป็นตัวเลขการให้คะแนนเพื่อให้เห็นความแตกต่างที่ชัดเจน ว่าพนักงานคนใดปฏิบัติหน้าที่ได้ดีมากน้อยแค่ไหน
-ตอบแทนรางวัลพนักงาน
เมื่อมีการทำงานสร้างองค์กรให้เติบโตและแข่งแกร่งอย่างเต็มที ก็ต้องมีรางวัลตอบแทนให้กับพนักงานที่ทำดีเพื่อเป็นกำลังใจและเป็นแรงขับที่ จะทำงานต่อไป เช่น ค่าโบนัสรายปี(จำนวนเท่าไหร่ก็ขึ้นอยู่ผลประกอบการ),ค่าโอที,ค่าเบี้ย ขยัน,รางวัลพิเศษของพนักงานดีเด่น การเลื่อนตำแหน่งงาน,สวัสดิการที่จะได้รับเพิ่มขึ้นถ้าปฏิบัตหน้าที่ได้เป็น อย่างดี
-บทลงโทษ
หากมีการทำผิดระเบียบหรือกฎที่ได้ตั้งไว้ ก็ต้องมีบทลงโทษจากน้อยไปหามากเพื่อควบคุมทิศทางขององค์กรให้เป็นไปในแนวทาง เดียวกัน
7.เรื่องการทำตลาดและประชาสัมพันธุ์ในการเปิดอู่ซ่อมรถ
ในการทำกิจการใดๆก็ตามต้องมีการทำตลาดและประชาสัมพันธ์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ ได้ และต้องควรทำอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเป็นกิจการที่เปิดใหม่ยังไม่เป็นที่รู้จักต้องยิ่งประชาสัมพันธ์ให้ มากในช่วงแรก จนกว่าจะมีลูกค้ามากพอระดับหนึ่งแล้วค่อยลดการประชาสัมธ์ลงหน่อยก็ได้ แต่ต่อทำการประชาสัมธ์ต่อไปอย่างต่อเนื่องห้ามละทิ้งโดยเด็ดขาดไม่เช่นนั้น อู่ซ่อมรถของเราอาจถูกลืมจากลูกค้าได้
การประชาสัมพันธุ์ทำ ได้หลายวิธี ตัวอย่างที่เป็นการประชาสัมธุ์ที่มีราคาไม่สูงนัก เช่น การแจกใบปลิวในบริเวณใกล้เคียง,การติดป้ายโฆษณาต่างบริเวณต่างๆทั้งด้านหน้า อู่และสถานที่ใกล้เคียง,การทำสปอร์ตโฆษณากับวิทยุชุมชน และที่เห็นจะมาแรงในขณะนี้ก็คือ การทำเว็บไซต์ซึ่งน่าสนใจมาก มีราคาถูกมีคนรู้จักในวงกว้างและรวดเร็ว
ด้านการตลาด ควรมีการจัดกิจกรรมต่างๆให้ลูกค้ามีส่วนรวม,จัดโปรโมชั่นลดราคาตามช่วง เทศกาลต่างๆ เช่น เทศกาลสงการณ์ตรวจเช็ค 10 รายการฟรีก่อนเดินทางกลับบ้านให้ปลอดภัยกับอู่เราซิ เป็นต้น
8.จุดแข็งและจุดอ่อนของการเปิดอู่ซ่อมรถ
จุดแข็ง
เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ที่มีจำนวนมากและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุก วัน จากการค่านิยมของคนรุ่นใหม่ที่ต้องการมีรถยนต์ส่วนตัวเป็นของตนเอง จากรถขนาดเล็กที่มีราคาถูกที่มีจำนวนมากขึ้นทุกวัน
จุดอ่อน
เป็นกิจการที่ต้องมีบริหารจัดการให้ดี โดยเฉพาะเรื่องคนที่ต้องมีการเก็บรักษาคนเก่าที่ดีมีฝีมือไว้ และรับคนใหม่เข้ามาเสริมทีมงานให้มีความต่อเนื่องไม่หยุดฉงัก
9.เรื่องภาษีต่างๆในการ เปิดอู่ซ่อมรถ
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา(ในกรณีจดทะเบียนในนามชื่อ-สกุล)
-ต้องทำการยื่นขอเป็นผู้มีบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากรต่อสรรพากรในเขต พื้นที่ ในที่ตั้งของสถานประกอบการ(ปัจจุบันใช้เลขประจำตัวบัตรประชาชน)
-ต้องทำการยื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปี(ภ.ง.ด.90)และครึ่งปี(ภ.ง.ด.94)
-ถ้ามีรายได้เกิน 1,800,000/ปี ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม(ภ.พ. 20)เพื่อเสียภาษีมูลค่ารายเดือนตามแบบ(ภ.พ.30)
นิติบุคคล(ห้างหุ้นส่วนจำกัด,บริษัท)
-ต้องทำการยื่นขอเป็นผู้มีบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากรต่อสรรพากรเขตพื้นที่ ในเขตที่ตั้งของสถานประกอบการนั้นๆ
-ต้องทำการยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคล ประจำปี และ ครึ่งปี (ภ.ง.ด.50 และ 51)
-ถ้ามีรายได้เกิน 1,800,000 ต่อปี ต้องยื่นชำระภาษีมูลค่าเพิ่มตามแบบ ภ.พ. 30
ภาษีป้าย
-ผู้ประกอบธุรกิจที่ติดตั้งป้ายใหม่ หรือแสดงป้ายใหม่ จะต้องชำระภาษีป้ายต่อเจ้าพนักงาน
-ภายใน 15วัน และจะต้องยื่นชำระภาษีป้ายทุกปีที่ยังติดตั้งป้าย
สถานที่ขออนุญาต
กรุงเทพฯ ยื่นขอ ณ สำนักงานเขต ที่ป้ายนั้นติดตั้งอยู่
ต่างจังหวัด ยื่นขอ ณ สำนักงานเทศบาล หรือสุขาภิบาล หรือ องค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งดูแลพื้นที่ที่ป้ายนั้นติดตั้งอยู่
K.MOTERS เจริญกรุง
การจะเปิดอู่ซ่อมรถซัก
หนึ่งร้านมีรายละเอียดปลีกย่อยค่อนข้างเยอะ
ก่อนที่จะทำธุรกิจอู่ซ่อมรถได้นั้นเราควรศึกษาองค์ประกอบเรื่องต่างๆที่จำ
เป็นเสียก่อนที่จะเปิดอู่รถ ซึ่งจะขอแยกเป็นเรื่องๆดังต่อไปนี้1.ประเภทของร้านในการเปิดอู่ซ่อมรถ แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่
1.1ศูนย์บริการรูบแบบค่ายรถยนต์มีชื่อทั้งหลาย
อู่ซ่อมรถประเภทนี้จะเน้นในเรื่องของการซ่อมรถยนต์ในแบรนด์ของตนเอง ซึ่งจะเน้นที่การให้บริการหลังการขายเมื่อเวลาที่เราซื้อรถใหม่ป้ายแดงไป แล้ว แต่ราคาค่าบริการจะสูง อาจมีทั้งค่ายที่เป็นของรถยนต์เองและที่เป็นของเอกชนลงทุนแต่เฉพาะอู่รถยนต์ เช่น B-Quik(บี-ควิก) Bosch Car Service เป็นต้น
1.2อู่บริการทั่วไป
-มี ทั้งเป็นลักษณะการเปิดแบบใหญ่พื้นที่ให้บริการมาก ขนาด 200-500ตารางเมตร มีทั้งที่ให้บริการแก่บุคคลทั่วไป และที่รับซ่อมเฉพาะงานของบริษัทรับประกันทั้งหลาย
-อู่ ขนาดกลาง มีลักษณะเป็นร้านที่เป็นตึกแถว(อาคารพาณิชย์) ขนาด 2-4 คูหา ส่วนใหญ่จะเป็นร้านที่ให้บริการช่วงล่าง, จำพวก เบรค,ครัช,โช๊คอัพ,เปลี่ยนน้ำมันเครื่องและไส้กรอง
-อู่ ขนาดเล็ก ร้านขนาดแค่ที่ห้องเดียวที่อยู่ตามบ้าน หรือพื้นที่เปล่าที่ไปปลูกเพิงขนาดเล็กไว้ ให้บริการในกลุ่มคนที่รู้จักกัน
การเปิดอู่ซ่อมรถ ยังแบ่งได้จากการให้บริการรถยนต์
-อู่ที่ให้บริการแบบครบวงจร
-อู่ที่ให้บริการเฉพาะเครื่องยนต์
-อู่ที่ให้บริการแบบเฉพาะระบบไฟฟ้ารถยนต์
-อู่ที่ให้บริการแบบเฉพาะช่วงล่าง
และมีอู่หรืออาจเรียกว่าร้านที่ให้บริการซ่อมหรือเปลี่ยนเฉพาะบ้างส่วนของรถ ยนต์ เช่น อู่ร้านแอร์รถยนต์ อู่เช็คปั๊มหัวฉีด อู่ติดแก๊สรถยนต์ ร้านเปลี่ยนแบตเตอรี่ ร้านหม้อน้ำรถยนต์ ร้านไดนาโมและไดชาร์จ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นอู่ที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ แต่สำหรับในที่นี้จะกล่าวเฉพาะการเปิดอู่แบบที่ให้บริการช่วงล่าง,เครื่อง ยนต์เป็นหลัก 2.เรื่องการจดทะเบียนผู้ประกอบการ
2.1.การ จดทะเบียนการค้าหรือใบทะเบียนพาณิชย์ สามารถจดทะเบียนพาณิชย์ในรูปแบบ บุคคลธรรม(ชื่อ-สกุล) หรือนิติบุคคล(ห้างหุ้นส่วนจำกัด-บริษัท)
-เอกสารที่ต้องเตรียมเพื่อจดทะเบียนพาณิชย์
-สำเนาบัตรประชาชนของผู้ที่เป็นเจ้าของกิจการ
-สำเนาทะเบียนบ้านของผู้ที่เป็นเจ้าของกิจการ
กรณีที่เจ้าของกิจการอู่ซ่อมรถไม่ได้เป็นเจ้าบ้าน ต้องมีเอกสารประกอบดังนี้
-สำเนาบัตรประชาชนของผู้ที่เป็นเจ้าบ้าน
-สำเนาทะเบียนบ้านของผู้ที่เป็นเจ้าบ้าน
-หนังสือยินยอมการอาคารสถานที่เพื่อประกอบกิจการอู่ซ่อมรถจากเจ้าบ้าน
-สำเนาสัญญาเช่าอาคารหรือพื้นที่,หนังสือยินยอมให้ใช้เพื่อเปิดอู่ซ่อมรถลงชื่อผู้ให้เช่า
กรณีที่เป็นอาคารสร้างใหม่ ต้องเตรียมเอกสารดังต่อไปนี้ไปด้วย
-เตรียมใบขออนุญาตก่อสร้างอาคาร
สถานที่จดทะเบียนพาณิชย์ในการเปิดอู่ซ่อมรถ
กรุงเทพ
-กรมพัฒนาธุรกิจการค้า Website:http://www.dbd.go.th/ call center 1570
-จะมีสำนักงานธุรกิจการค้าแยกเป็นเขตที่ 1-6 ดูรายละเอียดที่ http://www.dbd.go.th/ewt_news.php?nid=48
-หรือไปที่สำนักงานเขตทั้ง 53 เขตก็ได้
ต่างจังหวัด
-ไปที่เทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบลและสำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดตามแต่ละจังหวัด
-ต้องยื่นจดทะเบียนพาณิชย์ภายใน 30 วันนับตั้งแต่มีการเริ่มดำเนินกิจการ
-หากผู้ประกอบการไม่ทำการจดทะเบียน หรือแสดงรานการที่เป็นเท็จ มีโทษค่าปรับไม่เกิน 2,000บาท และหากไม่ทำการจดให้แล้วเสร็จปรับอีกไม่เกินวันละ 100บาท
-ค่าธรรมเนียมในการจดทะเบียนพาณิชย์เพื่อประกอบธุรกิจใหม่ 50บาท
3.เรื่องการขอใบอนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ สำหรับธุรกิจ เปิดอู่ซ่อมรถ นั้นเป็นการทำกิจการที่ทำเกี่ยวกับ การซ่อมเครื่องรถยนต์,การประกอบ,การเคาะพ่นสี หรือการปะเชื่อมต่างๆ และรวมไปถึงการสะสมน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์นั้น กฎหมายด้านการสาธารณสุขถือว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพ บังคับให้ผู้ประกอบการต้องขอใบอนุญาตประกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
เอกสารที่ต้องเตรียม
-เตรียมใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร
-สำเนาทะเบียนบ้าน
-สำเนาบัตรประชาชน
-สำเนาใบทะเบียนพาณิชย์
-รูปถ่าย 1 นิ้ว 2 ใบ
-แบบแปลนภายในอู่ในส่วนพื้นที่การใช้งานของแต่ละส่วนการทำงาน
-แผนการจัดเก็บวัสดุใช้แล้วประเภทเป็นอันตราย
-ใบอนุญาตมีอายุ 1 ปี และต้องต่อทุกปี(ต้องต่อก่อนที่ใบอนุญาตจะหมดอายุ 30วัน)
สถานที่ไปขอใบอนุญาต
กรุงเทพมหานคร: ยื่นขอได้ที่สำนักงานเขตที่ตั้งสถานประกอบการ
ใน ต่างจังหวัด: ยื่นขอได้ที่ สำนักงานเทศบาล,สำนักงานสุขาภิบาล,องค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการขอใบอนุญาตการขอตั้งสถานประกอบการ
โดยมีค่าธรรมเนียมในแต่ละประเภทไม่เกิน 10,000บาท
4.การปิดป้ายแสดงราคาค่าบริการในเปิดอู่ซ่อมรถ
คณะ กรรมการกลางว่าด้วยราคาสินค้าและบริการจากกระทรวงพาณิชย์ ได้ออกประกาศกำหนดให้แก่ธุรกิจบริการซ่อมรถนั้นต้องปิดป้ายแสดงราคาค่า บริการต่างๆให้เห็นชัดเจนในสถานที่ประกอบการ หากฝ่าฝืนมีโทษปรับไม่เกิน_10,000บาท
5.รายละเอียดการลงทุนของการเปิดอู่ซ่อมรถ
จะมีค่าใช้จ่ายในการลงทุนเริ่มแรกแตกต่างกันไปตามแต่ขนาด และลักษณะในการเลือกการให้บริการของการเปิดอู่ซ่อมรถว่ามากน้อยเพียงไร
ข้อมูลโดยเฉลี่ยสำหรับเงินลงทุนเริ่มต้นของผู้เปิดอู่ซ่อมรถ มีดังนี้
-ส่วนที่1)เป็นค่าออกแบบตกแต่งอาคาร เฟอร์นิเจอร์สำนักงาน,เครื่องใช้และอุปกรณ์สำนักงาน 15%(ของเงินลงทุน)
-ส่วนที่2)เป็นค่าเครื่องมือช่างและอุปกรณ์อู่ซ่อม 11%(ของเงินลงทุน) ซึ่งจะมมีอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นดังนี้ แม่แรงขนาดใหญ่สำหรับยกเพื่อซ่อม เครื่องปั๊มลมสำหรับเครื่องมือช่างที่ใช้แรงอัด เครื่องเจียรแต่ง เครื่องชาร์ตแบตเตอรี่ ประแจและไขควงต่างๆ
-ส่วนที่3)เงินทุนหมุนเวียน 74%(ของเงินลงทุน) ส่วนใหญ่เป็นค่าอะไหล่ของรถยนต์ ค่าวัสดุสิ้นเปลือง ค่าใช้จ่ายประจำ,เงินเดือนพนักงาน ค่าน้ำประปาและค่าไฟฟ้า เป็นต้น
เคสตัวอย่างในการใช้เงินลงทุนของธุรกิจเปิดอู่ซ่อมรถ |
รายการ จำนวนเงิน(บาท) เฟอร์นิเจอร์และเครื่องใช้สำนักงาน -โต๊ะและเก้าอี้สำนักงาน………………………………………4,000 -ตู้เอกสาร……………………………………………………8,400 -โทรทัศน์……………………………………………………7,300 -เครื่องเสียง………………………………………………….7,000 -ตู้เย็น……………………………………………………….5,500 -เครื่องโทรศัพท์……………………………………………..6,000 -เครื่องคิดเลข…………………………………………………600 -เฟอร์นิเจอร์อื่นๆ…………………………………………….9,200 รวม………………………………………..48,000 ค่าเครื่องมืออุปกรณ์สำหรับการให้บริการ -ปั้มลม…………………………………………………..12,000 -แม่แรง……………………………………………………4,700 -เครื่องเจียร……………………………………………….1,300 -รถยนต์และรถมอเตอร์ไซด์……………………………..110,000 -ไขควง,คีม,ประแจอื่นๆ ……………………………….34,000 รวม……………………………………….162,000 เงินทุนหมุนเวียน…………………………………………….100,000 รวมเงินลงทุนทั้งหมด………………………………………..310,000 |
ที่มา:ในประมาณการจากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบกิจอู่ซ่อมรถการจำนวน_10
กิจการ ในรอบเดือนธันวาคม พ.ศ.2543-มกราคม พ.ศ.2544
และปรับรายการลงทุนบ้างรายการออกเพราะเป็นรายการที่มูลค่าต่ำ
หรือรายการปลีกย่อยที่ไม่จำเป็นออกไป |
6.การบริหารจัดการภายในร้าน
ซึ่งในการที่จะ เปิดอู่ซ่อมรถ นั้นการบริหารจัดการภายในร้านเป็นเรื่องสำคัญควรมีการจัดระบบงานต่างแยกเป็น สัดส่วนให้ชัดเจน ซึ่งสามารถแยกเป็นส่วนๆได้ดังนี้
ด้านการบริหารการเงินและการบัญชี
จะเป็นส่วนที่รับผิดชอบเรื่องการเงินทั้งหมด การทำบัญชีทั้งในส่วนที่เป็นรายรับ(รายได้ค่าบริการในการซ่อม,รายได้จากการ ขายอะหลั๋ยรถยนต์),รายจ่าย(ค่าใช้จ่ายต่างๆทั้งหมด) ในการทำบัญชีต้องรับผิดชอบงานในส่วนเอกสารทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น,บัญชีรายรับ,บัญชีรายจ่าย,บัญชีสต๊อก,บัญชีการเสียภาษี, งานที่เป็นเอกสารต่างๆ เช่น การออกบิล,เอกสารรายได้ของพนักงานที่เป็นค่าล่วงเวลาหรือในการลาหยุด ทั้งหมดเป็นเรื่องของงานเอกสารที่ต้องมีการบันทึกเพื่อนำมาสรุป ยอดกระทบตัวเลขของแต่ละบัญชีให้ถูกต้อง
ในเรื่องของการทำบัญชีเป็นเรื่องที่ควารทำอย่างยิ่ง เพราะจะเป็นการตรวจสอบวัดผลกำไร-ขาดทุนของกิจการได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นความถูกต้องเพื่อนำเรียนกับเจ้าที่สรรพากรถึงผลกำไร-ขาด ทุนอย่างโปร่งใส หากกิจการมีกำไรก็เสียภาษีอย่างถูกต้องตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด หากยังขาดทุนอยู่ก็ไม่ต้องเสียภาษีว่ากันไปตามจริง
ในการทำบัญชียังสามารถทำในแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อง่ายต่อการทำงาน แต่ก็ควรมีผู้ชำนาญงานด้านคอมพิวเตอร์และการบัญชีควบคู่กันด้วย
ด้านการบริหารจัดการบุคคล
ในการ เปิดอู่ซ่อมรถ สามารถแบ่งงานบุคคลเป็น 5 กลุ่ม(คราวๆสำหรับกิจกรรมขนาดเล็ก)
-พนักงานผู้บริหาร(เจ้าของกิจการ)
เจ้าของกิจการรับผิดชอบภาพรวมทั้งหมด อีกทั้งต้องรับแรงกดดันทั้งหมดของทุกภาคส่วนของกิจการ ต้องมีความเข้าใจระบบงานทั้งหมดขององค์กร สามารถบริหารงานวางคน..วางงานให้ถูกที่ถูกจุดได้อย่างประสิทธิภาพสูงสุดใน การทำงาน
-พนักงานด้าการบัญชี
เป็นพนักงานที่ทำหน้าที่ควบคุมด้านบัญชีทั้งหมด จำนวนพนักงานมากน้อยขึ้นอยู่กับขนาดโครงสร้างของการเปิดอู่ซ่อมรถ
-พนักงานตอนรับลูกค้า
เจ้าหน้าที่ทำหน้าที่คอยตอนรับลูกค้าและดูแลลูกค้าระหว่างที่รถเข้ารับการ ซ่อมในอู่ซ่อมรถ ทำหน้าที่คอยประสานงานให้ลูกค้ารับข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวกับการซ่อมรถ ทำการนัดหมายเพื่อตรวจเช็ตรถในครั้งต่อไป อาจรวมไปถึงการแจ้งโปรโมชั่นต่างๆให้กับลูกค้าทราบ
-พนักงานช่างซ่อมบำรุง
เป็นพนักงานที่เชียวชาญด้านการซ่อมรถในแต่ละด้าน ที่ทางอู่เปิดให้บริการซ่อม มีทั้งระดับหัวหน้าช่าง,ผู้ช่วยช่าง จำนวนของพนักงานขึ้นอยู่กับจำนวนรถที่เข้ารับบริการในแต่ละวัน หนึ่งคน-สองคนต่อรถยนต์หนึ่งคัน
-พนักงานแม่บ้าน
เป็นพนักงานที่รับผิดชอบความเรียบร้อย,ด้านความสะอาด,การจัดเตรียมสิ่งอำนวย ความสะดวก,เครื่องดื่ม,อาหารว่าง รวมถึงงานของแม่บ้านทั้งหมดภายในอู่ จำนวนขึ้นอยู่กับขนาดของการเปิดอู่ซ่อมรถ
ด้านการบริหารคุณภาพการให้บริการ
เป็นหัวใจสำคัญของกิจการ เปิดอู่ซ่อมรถ เพราะกิจการมีสินค้าเป็นการให้บริการเป็นหลัก ความประทับใจของลูกค้าเท่านั้นที่จะทำให้กิจการอยู่รอดและสามารถแข่งขันใน ธุรกิจนี้ได้
-ควรกำหนดเป้าหมายของกิจการ เปิดอู่ซ่อมรถ ด้านคุณภาพการให้บริการให้ชัดเจน ตัวอย่างเช่น หน้าตาดี คำพูดดี จิตใจดี คุณภาพการซ่อมที่ดี กล่าวคือ หน้าตาดีคือมีใบหน้าที่ยิ้มแย้มแจ่มใสพร้อมที่จะให้บริการกับลูกค้าทุก เมื่อ คำพูดดีคือการพูดจาที่ไพเราะกับลูกค้าให้คำแนะนำข้อมูลกับลูกค้าเท่าที่ ลูกค้าต้องการ จิตใจดีคือมีหัวใจพร้อมในงานบริการหากไม่มีใจในการให้บริการลูกค้าแล้ว ทุกอย่างก็จะออกมาไม่ดี คุณภาพการซ่อมที่ดีคือทำงานด้วยงานที่เน้นคุณภาพการซ่อมทั้งเรื่องการซ่อม และสินค้าอะหลั่ยที่ใช้เปลี่ยน
-ประเมินพนักงาน
ควรมีระบบตรวจวัดผลของพนักงานทุกคนทุกฝ่ายว่าได้ทำงานเป็นไปตามเป้าหมายที่ กำหนดหรือไม่ ควรวัดออกมาเป็นตัวเลขการให้คะแนนเพื่อให้เห็นความแตกต่างที่ชัดเจน ว่าพนักงานคนใดปฏิบัติหน้าที่ได้ดีมากน้อยแค่ไหน
-ตอบแทนรางวัลพนักงาน
เมื่อมีการทำงานสร้างองค์กรให้เติบโตและแข่งแกร่งอย่างเต็มที ก็ต้องมีรางวัลตอบแทนให้กับพนักงานที่ทำดีเพื่อเป็นกำลังใจและเป็นแรงขับที่ จะทำงานต่อไป เช่น ค่าโบนัสรายปี(จำนวนเท่าไหร่ก็ขึ้นอยู่ผลประกอบการ),ค่าโอที,ค่าเบี้ย ขยัน,รางวัลพิเศษของพนักงานดีเด่น การเลื่อนตำแหน่งงาน,สวัสดิการที่จะได้รับเพิ่มขึ้นถ้าปฏิบัตหน้าที่ได้เป็น อย่างดี
-บทลงโทษ
หากมีการทำผิดระเบียบหรือกฎที่ได้ตั้งไว้ ก็ต้องมีบทลงโทษจากน้อยไปหามากเพื่อควบคุมทิศทางขององค์กรให้เป็นไปในแนวทาง เดียวกัน
ในการทำกิจการใดๆก็ตามต้องมีการทำตลาดและประชาสัมพันธ์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ ได้ และต้องควรทำอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเป็นกิจการที่เปิดใหม่ยังไม่เป็นที่รู้จักต้องยิ่งประชาสัมพันธ์ให้ มากในช่วงแรก จนกว่าจะมีลูกค้ามากพอระดับหนึ่งแล้วค่อยลดการประชาสัมธ์ลงหน่อยก็ได้ แต่ต่อทำการประชาสัมธ์ต่อไปอย่างต่อเนื่องห้ามละทิ้งโดยเด็ดขาดไม่เช่นนั้น อู่ซ่อมรถของเราอาจถูกลืมจากลูกค้าได้
การประชาสัมพันธุ์ทำ ได้หลายวิธี ตัวอย่างที่เป็นการประชาสัมธุ์ที่มีราคาไม่สูงนัก เช่น การแจกใบปลิวในบริเวณใกล้เคียง,การติดป้ายโฆษณาต่างบริเวณต่างๆทั้งด้านหน้า อู่และสถานที่ใกล้เคียง,การทำสปอร์ตโฆษณากับวิทยุชุมชน และที่เห็นจะมาแรงในขณะนี้ก็คือ การทำเว็บไซต์ซึ่งน่าสนใจมาก มีราคาถูกมีคนรู้จักในวงกว้างและรวดเร็ว
ด้านการตลาด ควรมีการจัดกิจกรรมต่างๆให้ลูกค้ามีส่วนรวม,จัดโปรโมชั่นลดราคาตามช่วง เทศกาลต่างๆ เช่น เทศกาลสงการณ์ตรวจเช็ค 10 รายการฟรีก่อนเดินทางกลับบ้านให้ปลอดภัยกับอู่เราซิ เป็นต้น
จุดแข็ง
เป็นกิจการที่เกี่ยวข้องกับรถยนต์ที่มีจำนวนมากและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุก วัน จากการค่านิยมของคนรุ่นใหม่ที่ต้องการมีรถยนต์ส่วนตัวเป็นของตนเอง จากรถขนาดเล็กที่มีราคาถูกที่มีจำนวนมากขึ้นทุกวัน
จุดอ่อน
เป็นกิจการที่ต้องมีบริหารจัดการให้ดี โดยเฉพาะเรื่องคนที่ต้องมีการเก็บรักษาคนเก่าที่ดีมีฝีมือไว้ และรับคนใหม่เข้ามาเสริมทีมงานให้มีความต่อเนื่องไม่หยุดฉงัก
9.เรื่องภาษีต่างๆในการ เปิดอู่ซ่อมรถ
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา(ในกรณีจดทะเบียนในนามชื่อ-สกุล)
-ต้องทำการยื่นขอเป็นผู้มีบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากรต่อสรรพากรในเขต พื้นที่ ในที่ตั้งของสถานประกอบการ(ปัจจุบันใช้เลขประจำตัวบัตรประชาชน)
-ต้องทำการยื่นแบบแสดงรายการชำระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาประจำปี(ภ.ง.ด.90)และครึ่งปี(ภ.ง.ด.94)
-ถ้ามีรายได้เกิน 1,800,000/ปี ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม(ภ.พ. 20)เพื่อเสียภาษีมูลค่ารายเดือนตามแบบ(ภ.พ.30)
นิติบุคคล(ห้างหุ้นส่วนจำกัด,บริษัท)
-ต้องทำการยื่นขอเป็นผู้มีบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากรต่อสรรพากรเขตพื้นที่ ในเขตที่ตั้งของสถานประกอบการนั้นๆ
-ต้องทำการยื่นภาษีเงินได้นิติบุคคล ประจำปี และ ครึ่งปี (ภ.ง.ด.50 และ 51)
-ถ้ามีรายได้เกิน 1,800,000 ต่อปี ต้องยื่นชำระภาษีมูลค่าเพิ่มตามแบบ ภ.พ. 30
ภาษีป้าย
-ผู้ประกอบธุรกิจที่ติดตั้งป้ายใหม่ หรือแสดงป้ายใหม่ จะต้องชำระภาษีป้ายต่อเจ้าพนักงาน
-ภายใน 15วัน และจะต้องยื่นชำระภาษีป้ายทุกปีที่ยังติดตั้งป้าย
สถานที่ขออนุญาต
กรุงเทพฯ ยื่นขอ ณ สำนักงานเขต ที่ป้ายนั้นติดตั้งอยู่
ต่างจังหวัด ยื่นขอ ณ สำนักงานเทศบาล หรือสุขาภิบาล หรือ องค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งดูแลพื้นที่ที่ป้ายนั้นติดตั้งอยู่
สำหรับการ เปิดอู่ซ่อมรถ นั้น
เปิดกิจการที่มีรูปแบบธุรกิจที่มีความซับซ้อนในหลายเรื่อง
แต่เป็นเรื่องที่สามารถศึกษาหาความรู้ก่อนลงมือทำได้
ซึ่งในแต่ละเรื่องมีความสำคัญต่อการดำเนินธุกิจเป็นอย่างมาก
หากทำด้านได้ด้านหนึ่งดีอย่างเดียวการ เปิดอู่ซ่อมรถ
คงจะประสบความสำเร็จไปไม่ได้ ฉะนั่นควรศึกษาทำเข้าใจให้ครบทุกเรื่อง
วางแผนธุรกิจให้ดีตอบโจทย์กับตัวเองก่อนลงมือทำว่าเราจะทำอย่างไร
ในแต่ละเรื่อง,แต่ละด้านของธุรกิจ
หากเตรียมทุกอย่างด้วยความพร้อมอย่างที่สุดแล้วก็ลงมือทำได้เลย |
เขียนโดย อาซาดะ ริวอิจิ
ลิขสิทธิ์โดย อาซาดะ ริวอิจิ
ทำเลขายของ.com
ลิขสิทธิ์โดย อาซาดะ ริวอิจิ
ทำเลขายของ.com
ขายของได้ทุกที่ บนรถขายขายของเคลื่อนที่ ได้ทั้งของกินและเครื่องดื่ม
ตัวอย่างอาชีพค้าขายที่ไม่ง้อทำเล(รูป)ตอน 1-12
download ...http://bit.ly/2kYAKOt
ตัวอย่างอาชีพค้าขายที่ไม่ง้อทำเล(รูป)ตอน 1-12
download ...http://bit.ly/2kYAKOt